ชื่อ drivr
1.เข้า control panel
2.เข้า Administrative Tools
3.เข้า Computer manager
4.ตรงด้านซ้ายเลือก DiskManagement
5.เลือก drive ที่จะเปลี่ยนชื่อ คลิกขวา แล้วกด Change Drive Letter And Path
6.กด Change
7.เลือกชื่อ drive
8.กด OK
9.กด OK
วันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551
วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2551
TIPS: ค้นหาอะไรก็เจอด้วยคำสั่ง locate
เมื่อเราต้องการค้นหาไฟล์ที่ต้องการ แล้วไม่รู้ว่าไฟล์นั้นถูกเก็บไว้ที่ไดเร็กทอรีใด เราสามรถใช้คำสั่ง locate ช่วยได้เช่น
# locate rc.conf
# locate rc.conf
เอาแบบยากขึ้นมานิดนึงนะครับ ก็ใช้ find เช่นต้องการหาไฟล์ rc.conf ก็ใช้ #find / -name rc.conf |
TIPS: เมื่อไฟล์ rc.conf ไม่สามารถ save ได้ (read-only)
เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้เนื่องจาก ปัญหาหลายอย่างครับ เช่น คุณมีการแก้ไขไฟล์ /etc/rc.conf แล้ว (พิมพ์ผิด) จากนั้นทำการ reboot เครื่องก็จะทำให้ระบบไม่สามารถบูทได้อย่างสมบูรณ์ หากเกิดเหตุการณ์แบบนี้ก็สามารถแก้ไขได้ด้วยคำสั่งเหล่านี้
# mount -u
# mount -a -t ufs
# swapon -a
# /usr/local/bin/pico /etc/rc.conf
# mount -u
# mount -a -t ufs
# swapon -a
# /usr/local/bin/pico /etc/rc.conf
วันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551
วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2551
วิทยากรอบรม
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การผลิตและเผยแพร่สื่อทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุข" วันที่ 27 เดือน กันยายน 2551 เวลา 9.00 - 17.00 น. ณห้องประชุมบุษราคัม โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์
วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2551
E1-E2 T1-T2
คะแนนเฉลี่ย = คะแนนรวม / จำนวนคน
T1,T2 = (คะแนนเฉลี่ย * 100)/จำนวนคน
E1,E2 =((คะแนนรวม/จำนวนคน) * 100 / คะแนนเต็ม)
SD = ()
T1,T2 = (คะแนนเฉลี่ย * 100)/จำนวนคน
E1,E2 =((คะแนนรวม/จำนวนคน) * 100 / คะแนนเต็ม)
SD = ()
วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551
ลบเมนู boot windows
พิเศษกรณีไฟล์ hal.dll หาย แก้ไขโดยลงวินโดว์ในไดร์ฟเดิม ไม่ต้อง format patition เลือกลงที่เดิมจะได้ windows.0 มาให้คัดลอกไฟล์ hal.dll ไปไว้ที่เดิม boot เครื่องใหม่และทำขั้นตอนต่อไป
ส่วนที่ใช้เก็บค่า Boot ของ Windows ดูได้จาก System Configuration Utility นะครับโดยไปที่ Start --> Run --> msconfig --> แท็บ BOOT.INIอยากแก้ไขค่าการบูตของมันไม่ให้มีเมนูปรากฎ ให้หาไฟล์ boot.ini ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ใน Partition ที่เรากำลังใช้ Windows อยู่ อย่างเช่น C:/boot.ini ( ชนิดของไฟล์เป็น Hidden File กับ Operating System Files อย่าลืมเปิดให้ Windows Explorer แสดงนะครับ )ลบบรรทัดเมนู Boot ที่เราต้องการเอาออก กด Save เป็นอัน OK ครับ
http://xchange.teenee.com/index.php?showtopic=16004&pid=240349&mode=threaded&show=&st=&#entry240349
ส่วนที่ใช้เก็บค่า Boot ของ Windows ดูได้จาก System Configuration Utility นะครับโดยไปที่ Start --> Run --> msconfig --> แท็บ BOOT.INIอยากแก้ไขค่าการบูตของมันไม่ให้มีเมนูปรากฎ ให้หาไฟล์ boot.ini ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ใน Partition ที่เรากำลังใช้ Windows อยู่ อย่างเช่น C:/boot.ini ( ชนิดของไฟล์เป็น Hidden File กับ Operating System Files อย่าลืมเปิดให้ Windows Explorer แสดงนะครับ )ลบบรรทัดเมนู Boot ที่เราต้องการเอาออก กด Save เป็นอัน OK ครับ
http://xchange.teenee.com/index.php?showtopic=16004&pid=240349&mode=threaded&show=&st=&#entry240349
วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2551
การสร้างชุดการสอน
- คู่มือครู
- สื่อการเรียนการสอน (โปรแกรม + เอกสาร)
- แบบฝึกเสริมทักษะ
- แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัด และแบบทดสอบหลังเรียน พร้อมเฉลย
Flash
การกำหนดค่าสีเนื้อของตัวละคร #FFCC99
หลักสูตรอบรม Flash Animation
- การใช้เครื่องมือ
- story board
- การวาดตัวละคร
- การวาดฉาก
- การกำหนดการเคลื่อนไหว
- บันทึกเสียง และใส่เสียงประกอบ
- การนำเสนอ
- Action script เล็กนน้อย
หลักสูตรอบรม Flash Animation
- การใช้เครื่องมือ
- story board
- การวาดตัวละคร
- การวาดฉาก
- การกำหนดการเคลื่อนไหว
- บันทึกเสียง และใส่เสียงประกอบ
- การนำเสนอ
- Action script เล็กนน้อย
วันจันทร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551
วันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
วันจันทร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
วันอาทิตย์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2551
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมของมศว
หัวข้อ : รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมของมศว
ข้อความ : การจัดเรียงบรรณานุกรม
หนังสือ
ชื่อ/ชื่อสกุล.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อเรื่องหนา.//ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์.
วารสาร
ชื่อ/ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสารหนา.//ปีที่(ฉบับที่)/:/หน้าที่อ้าง.
ชื่อบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อวารสารหนา.//ปีที่(ฉบับที่)/:/หน้าที่อ้าง.
หนังสือพิมพ์
ชื่อผู้เขียน.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความหรือชื่อคอลัมน์.//ชื่อนสพหนา.//หน้าที่ตีพิมพ์.
เว็บไซต์
ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/วันเดือนของวารสารหรือปีที่สืบค้น).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสารหนา.//(คำบอกแหล่งข้อ
มูลอิเลกทรอนิกส์).
//ปีที่(ฉบับที่)/:/หน้า.//แหล่งที่มา:/ชื่อของแหล่งที่มา;/ชื่อแหล่งย่อย.//วันที่สืบค้น.
หัวข้อย่อยในเว็บไซต์หนา. (ปีที่สืบค้น).//แหล่งที่มา:/ชื่อของแหล่งที่มา;/ชื่อแหล่งย่อย.//วันที่สืบค้น.
เช่น
ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). รายงานผลการวิจัยเรื่องการออกเสียงคำไทย(หนา). (ออนไลน์). แหล่งที่
มา:http:.......html. วันที่สืบค้น 25 กรกฎาคม 2547.
อย่าลืมชิด
เว้น 7 เคาะ
แนวโน้มการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา. (2546). สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2550,
จากhttp://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=13715
วรัท พฤกษากุลนันท์. (2550).
แนวโน้มการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาตามนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2550,
จาก http://www.edtechno.com/new/blog/index.php?postid=9
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549).
รายงานการวิจัย การศึกษาแนวโน้มเพื่อการวิจัยและพัฒนาการศึกษาสำหรับอนาคต. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2550,
จาก http://www.onec.go.th/publication/49044/sara_49044.htm
ข้อความ : การจัดเรียงบรรณานุกรม
หนังสือ
ชื่อ/ชื่อสกุล.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อเรื่องหนา.//ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์.
วารสาร
ชื่อ/ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสารหนา.//ปีที่(ฉบับที่)/:/หน้าที่อ้าง.
ชื่อบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อวารสารหนา.//ปีที่(ฉบับที่)/:/หน้าที่อ้าง.
หนังสือพิมพ์
ชื่อผู้เขียน.//(ปี,/วัน/เดือน).//ชื่อบทความหรือชื่อคอลัมน์.//ชื่อนสพหนา.//หน้าที่ตีพิมพ์.
เว็บไซต์
ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/วันเดือนของวารสารหรือปีที่สืบค้น).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสารหนา.//(คำบอกแหล่งข้อ
มูลอิเลกทรอนิกส์).
//ปีที่(ฉบับที่)/:/หน้า.//แหล่งที่มา:/ชื่อของแหล่งที่มา;/ชื่อแหล่งย่อย.//วันที่สืบค้น.
หัวข้อย่อยในเว็บไซต์หนา. (ปีที่สืบค้น).//แหล่งที่มา:/ชื่อของแหล่งที่มา;/ชื่อแหล่งย่อย.//วันที่สืบค้น.
เช่น
ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). รายงานผลการวิจัยเรื่องการออกเสียงคำไทย(หนา). (ออนไลน์). แหล่งที่
มา:http:.......html. วันที่สืบค้น 25 กรกฎาคม 2547.
อย่าลืมชิด
เว้น 7 เคาะ
แนวโน้มการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา. (2546). สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2550,
จากhttp://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=13715
วรัท พฤกษากุลนันท์. (2550).
แนวโน้มการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาตามนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2550,
จาก http://www.edtechno.com/new/blog/index.php?postid=9
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549).
รายงานการวิจัย การศึกษาแนวโน้มเพื่อการวิจัยและพัฒนาการศึกษาสำหรับอนาคต. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2550,
จาก http://www.onec.go.th/publication/49044/sara_49044.htm
วันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2551
my.cnf
เนื่องจากเครื่องที่ใช้ทำ server มีแรมอยู่แค่ 128 MB ก็เลยใช้ไฟล์ my-medium.cnf มาทำไฟล์คอนฟิก my.cnf
#cp /usr/local/share/mysql/my-medium.cnf /etc/my.cnf
#chown root:sys /etc/my.cnf
#chmod 644 /etc/my.cnf
#rehash
#cp /usr/local/share/mysql/my-medium.cnf /etc/my.cnf
#chown root:sys /etc/my.cnf
#chmod 644 /etc/my.cnf
#rehash
วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2551
ร่วมทำความดี ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯร่วมทำความดี ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ร่วมทำความดี ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
1. ความเพียร
การสร้างสรรค์ตนเอง การสร้างบ้านเมืองก็ตาม มิใช่ว่าสร้างในวันเดียว ต้องใช้เวลา ต้องใช้ความเพียร ต้องใช้ความอดทน เสียสละ แต่สำคัญที่สุดคือความอดทนคือไม่ย่อท้อ ไม่ย่อท้อในสิ่งที่ดีงาม สิ่งที่ดีงามนั้นทำมันน่าเบื่อ บางทีเหมือนว่าไม่ได้ผล ไม่ดัง คือดูมันควรทำดีนี่ แต่ขอรับรองว่าการทำให้ดีควรต้องมีความอดทน เวลาข้างหน้าจะเห็นผลแน่นอนในความอดทนของตนเอง
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารย์ในโอกาสเข้าเฝ้าฯวันที่ 27 ตุลาคม2516
2. ความพอดี
ในการสร้างตัวสร้างฐานะนั้นจะต้องถือหลักค่อยเป็นค่อยไป ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและความพอเหมาะพอดี ไม่ทำเกินฐานะและกำลัง หรือทำด้วยความเร่งรีบ เมื่อมีพื้นฐานแน่นหนารองรับพร้อมแล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญก้าวหน้าในระดับสูงขึ้น ตามต่อกันไปเป็นลำดับผลที่เกิดขึ้นจึงจะแน่นอน มีหลักเกณฑ์ เป็นประโยชน์แท้และยั่งยืน
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 18 ธันวาคม 2540
3. ความรู้ตน
เด็กๆ ทำอะไรต้องหัดให้รู้ตัว การรู้ตัวอยู่เสมอจะทำให้เป็นคนมีระเบียบและคนที่มีระเบียบดีแล้ว จะสามารถเล่าเรียนและทำการงานต่างๆ ได้โดยถูกต้องรวดเร็ว จะเป็นคนที่จะสร้างความสำเร็จและความเจริญ ให้แก่ตนเองและส่วนรวมในอนาคตได้อย่างแน่นอน
พระบรมราโชวาท พระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือ วันเด็ก ประจำปี 2521
4. คนเราจะต้องรับและจะต้องให้
คนเราจะเอาแต่ได้ไม่ได้ คนเราจะต้องรับและจะต้องให้ หมายความว่าต่อไป และเดี๋ยวนี้ด้วยเมื่อรับสิ่งของใดมา ก็จะต้องพยายามให้ ในการให้นั้น ให้ได้โดยพยายามที่จะสร้างความสามัคคีให้หมู่คณะและในชาติ ทำให้หมู่คณะและชาติประชาชนทั้งหลายมีความไว้ใจซึ่งกันและกันได้ ช่วยที่ไหนได้ก็ช่วย ด้วยจิตใจที่เผื่อแผ่โดยแท้
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 20 เมษายน 2521
5. อ่อนโยน แต่ไม่อ่อนแอ
ในวงสังคมนั้นเล่า ท่านจะต้องรักษามารยาทอันดีงามสำหรับสุภาพชน รู้จักสัมมาคารวะ ไม่แข็งกระด้าง มีความอ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ พร้อมจะเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนรวม
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 25 มิถุนายน 2496
6. พูดจริง ทำจริง
ผู้หนักแน่นในสัจจะพูดอย่างไร ทำอย่างนั้น จึงได้รับความสำเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธาเชื่อถือและความยกย่องสรรเสริญ จากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทำ คือ พูดจริง ทำจริง จึงเป็นปัจ จัยสำคัญในการส่งเสริมเกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด และสร้างเสริมความดี ความเจริญ ให้เกิดขึ้นทั้งแก่บุคคลและส่วนรวม
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 10 กรกฎาคม2540
7. หนังสือเป็นออมสิน
หนังสือเป็นการสะสมความรู้และทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ได้สร้างมา ทำมา คิดมา แต่โบราณกาลจนทุกวันนี้ หนังสือจึงเป็นสิ่งสำคัญ เป็นคล้ายๆ ธนาคารความรู้และเป็นออมสิน เป็นสิ่งที่จะทำให้ มนุษย์ก้าวหน้าได้โดยแท้
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดทั่วประเทศ ในโอกาสที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท วันที่ 25 พฤศจิกายน 2514
8. ความซื่อสัตย์
ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง
พระบรมราโชวาท พระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก ปี พุทธศักราช 2531
9. การเอาชนะใจตน
ในการดำเนินชีวิตของเรา เราต้องข่มใจไม่กระทำสิ่งใดๆ ที่เรารู้สึกด้วยใจจริงว่าชั่วว่าเสื่อม เราต้องฝืนต้องต้านความคิดและความประพฤติทุกอย่างที่รู้สึกว่าขัดกับธรรมะ เราต้องกล้าและบากบั่นที่จะกระทำสิ่งที่เราทราบว่าเป็นความดี เป็นความถูกต้อง และเป็นธรรม ถ้าเราร่วมกันทำเช่นนี้ ให้ได้จริงๆ ให้ผลของความดีบังเกิดมากขึ้น
การสร้างสรรค์ตนเอง การสร้างบ้านเมืองก็ตาม มิใช่ว่าสร้างในวันเดียว ต้องใช้เวลา ต้องใช้ความเพียร ต้องใช้ความอดทน เสียสละ แต่สำคัญที่สุดคือความอดทนคือไม
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารย์ในโอกาสเข้าเฝ้าฯวันท
2. ความพอดี
ในการสร้างตัวสร้างฐานะนั้นจะต
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหา
3. ความรู้ตน
เด็กๆ ทำอะไรต้องหัดให้รู้ตัว การรู้ตัวอยู่เสมอจะทำให้เป
พระบรมราโชวาท พระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือ วันเด็ก ประจำปี 2521
4. คนเราจะต้องรับและจะต้องให้
คนเราจะเอาแต่ได้ไม่ได้ คนเราจะต้องรับและจะต้องให้ หมายความว่าต่อไป และเดี๋ยวนี้ด้วยเมื่อรับสิ
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาล
5. อ่อนโยน แต่ไม่อ่อนแอ
ในวงสังคมนั้นเล่า ท่านจะต้องรักษามารยาทอันด
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจ
6. พูดจริง ทำจริง
ผู้หนักแน่นในสัจจะพูดอย่างไร ทำอย่างนั้น จึงได้รับความสำเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธาเชื่อถ
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจ
7. หนังสือเป็นออมสิน
หนังสือเป็นการสะสมความรู้และท
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดท
8. ความซื่อสัตย์
ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื
พระบรมราโชวาท พระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหน
9. การเอาชนะใจตน
ในการดำเนินชีวิตของเรา เราต้องข่มใจไม่กระทำสิ่งใดๆ ที่เรารู้สึกด้วยใจจริงว่าชั่วว
วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2551
16 มิถุนายน 2551
- ติดตั้ง Appserv
- เขียนโปรแกรมแรก variable.php
- บันทึกไฟล์ที่ c:/Appserv/www/variable.php
- เรียกใช้โปรแกรม php ด้วย IE พิมพ์ address bar htt:://localhost/variable.php
ปัญหาที่พบ
- พิมพ์โปรแกรมผิดบางบรรทัด แก้ไขโดยพิมพ์ใหม่
- ลืมเครื่องหมาย ;
- พิมพ์ผิด
วันเสาร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2551
วันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2551
13 มิถุนายน 51
สวัสดีชาวโลก ยินดีต้อนรับสู่บล๊อกของนายชัยฤทธิ์ เป็นวันแรกที่มีบล็อกเป็นของตัวเอง เหมือนได้เขียนบันทึกไว้ว่า ในวันนี้ได้ทำอะไรไปบ้างแล้ว
สิ่งแรกที่ตั้งใจทำคือ การติดตั้งโปรแกรม BSD เพื่อทำเครื่องแม่ข่ายให้สามารถแจกไอพีอัตโนมัติและทำ squid ทำได้แล้วสองครั้ง และวันนี้ได้พิมพ์แผนการสอนเสร็จแล้ว 1 รายวิชา
สิ่งแรกที่ตั้งใจทำคือ การติดตั้งโปรแกรม BSD เพื่อทำเครื่องแม่ข่ายให้สามารถแจกไอพีอัตโนมัติและทำ squid ทำได้แล้วสองครั้ง และวันนี้ได้พิมพ์แผนการสอนเสร็จแล้ว 1 รายวิชา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)